วันพฤหัสบดีที่ 20 กันยายน พ.ศ. 2550

String

โดยที่ string ที่มีช่องว่างระหว่าง 1 ตัวขึ้นไปออกโดยวิธีการใช้คือ a.trim()เช่น" hi ".trim()จะได้ว่า " hi " ออกมาการเปลี่ยนตัวอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ เล็กการเปลี่ยนตัวพิมพ์ใช้คำสั่ง .toLowerCase() หรือ .toUpperCase โดยจะได้ตัวพิมพ์เล็ก-ใหญ่ตามลำดับ
เเละการเปรียบเทียบของ stringโดยใช้คำสั่ง equals ถ้ามีตัวใหญ่ต้องใหญ่เหมือนกันและถ้าเล็กก็เล็กเหมือนกันโดยจะเเสดงผลออกมาเป็นTrue กับ False ส่วนในการเปรียบเทียบค่าของสตริงนั้นค่าจะเท่ากันต่อเมื่อ1.1 มีค่าเท่ากัน1.2 คือการเท่ากันในตัวแปรเดียวกันเท่านั้นซึ่งไม่เหมือนกับ equals ซึ่งเอาตัวเเปรคนละตัวเเปรมาเทียบกัน

ARRAY

ในการประกาศใช้arrayจะมี 3 ส่วนหลักๆ ในการประกาศใช้ตัวเเปร ส่วนเเรกคือการประกาศชนิดข้อมูล (ชนิดของข้อมูล) ตัวเเปร []; เช่น int x []; ส่วนที่สองคือการกำหนดเขตของarray โดย ตัวเเปร= new ชนิดข้อมูล [a]; โดยที่ a คือความกว้างของarray เช่น y= new int [10]; ได้ว่าarrayนี้มี10ตัวเเปร ส่วนที่สามคือการกำหนดตัวเเปร โดยที่ ตัวเเปร [a] = ค่าของข้อมูล เช่น y [0] = 1;y[1] = 2;y [2] = 3;

Array2มิติ arrayตัวนี้จะเพิ่มความละเอียดมากกว่าเเบบ1มิติไปอีก1ขั้น โดยการประกาศตัวเเปรเพิ่มอีก1ตัว เช่น ตัวแปร = new ชนิดของข้อมูล [a][b]; เป็นการกำหนดความกว้างของ Arrayตัวแปร [a][b] = ค่าของเลข;โดยเป็นการใส่ค่าให้ตัวแปร

Loop คือการสั่งให้โปรเเกรมทำงานซําๆกับคำสั่งเดิม เช่น สูตรที่ไปของมันคือfor( i = a; i < b; i ++){คำสั่งที่อยากให้ทำ;} โดยที่ a = จุดเริ่มต้นของข้อมูลb = จุดสุดท้ายของข้อมูลi ++ คือการเพิ่มลำดับข้อมูลทีละ 1i -- คือการลดลำดับข้อมูลทีละ 1

วันพฤหัสบดีที่ 30 สิงหาคม พ.ศ. 2550

week7

ในสัปดาห์นี้จะทำคล้ายๆของสัปดาห์ที่เเล้วคือ การใช้
if else เเต่จะเพิ่มความละเอี้ยดขึ้นไปอีกขั้นโดยการใส่if else เพิ่มอีก2-3ชั้นโดยหลักการทำงานก็ยังจะเหมือนเดิมเเต่จะมีรายละเอียดมากขึ้นดังรูปคือ ถ้าx=50 ข้อความเเรกก็จะปรากฦออกมาเลยเเต่ถ้าไม่ใช้ข้อมูลก็จะไหลลงมาเรื่อยๆจะพบตัวเเปรที่ต้องการเเละเเสดงผลออกมา

สัปดาห์ที่6


สัปดาห์นี้จะเป็นการสร้างเงื่อนไขให้กับโปรเเกรมโดยใช้คำสั่งifเช่น ถ้าข้อมูลตัวนี้เป็นจริง ข้อมูลส่วนนี้จะมีให้เห็นเเละอีกตัวหนึ่งคือelseจะทำหน้าที่รับข้อมูลต่อจากifเเละนำไปประมวลผลต่อเเล้วเเสดงออกมาผ่านelse

สัปดาห์ที่5


ในสัปดาห์นี้จะพูดถึงการ ใส่ข้อมูลผ่านคีรบอร์ดโดยจะใส่คำสั่งดังนี้Scanner a =new Scanner(System.in); จะเป็นการให้โปรเเกรมรับข้อมูลจากคีบอร์ดได้เเละยังสามารถใช้รวมกับความรวมกับความรู้เก่าได้เช่นกันคือการ+ - / * เลขโดยใช้ตำเเหน่ง
เเละจะใส่คำสั่งเพื่อให้รับข้อมูลเเละคำนวนดังนี่
float t;กำหนดชื่อตัวเเปร
float u;กำหนดชื่อตัวเเปร
float v;กำหนดชื่อตัวเเปร
t= a.nextFloat(); u= a.nextFloat(); v= a.nextFloat();นำตัวเลขเเทนไปในตัวเเปร
System.out.println("Sum Score" + (t + u + v) ); นำตัวเเปรมาคิดคำนวน

สัปดาห์ที่4


ในสัปดาห์นี้จะทำเกี่ยวกับการรวมข้อมูลโดยใช้คำสั่งSum Score โดยการเเทนข้อมูลด้วยตำเเหน่งเช่นSystem.out.println("Score1"+ " " + args[0]);
(args[0])คือการกำหนดตำเเหน่งตัวเลขถ้าจะเปลี่ยนตำเเหน่งสามารถเปลี่ยนเลขใน[]เเละจากนั้นก็รวมกับความรู้เก่าคือการรวมเลขเเบบไม่ลงตัว

สัปดาห์ที่3


สัปดาห์นี้เป็นการรวมตัวของข้อมูลโดยใช้ การเเสดงเป็นคำสั่ง โดยใส่ args เป็นกสรเเสดงตำเเหน่งของข้อมูล โดยถ้าใส่คำไปดังนี้ 000 111 222 333
โดยตัว[1]จะเป็น111เเละ[2]จะเป็น222มาตามลำดับ
Ex.
System.out.println("Score1"+ " " + args[2]); ถ้าใส่ไปดังนี้ จะเเสดงผลเป็น
Score 222

" "=ทำหน้าที่เป็นเว้นวรรค